ไทย-ญี่ปุ่นเป็นพันธมิตรกันในสงครามโลกครั้งที่สอง
ไทย (ซึ่งเป็นชื่อใหม่ของสยาม) เป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นชั่วเวลาไม่กี่ชั่วโมง หลังจากญี่ปุ่นบุกไทยเมื่อวันที่ 8 ธันงาคม ค.ศ. 1981
ไทยเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากที่ได้มีการแลกเปลี่ยนทางการทูตระหว่างกันช่วงก่อนสงครามหลายครั้งและการบุกสยามของทหารญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นทำข้อตกลงคำมั่นสัญญาทางวาจาลับกับจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีไทย ว่าทางไทยจะให้การสนับสนุนญี่ปุ่นในการโจมตีมลายาและพม่า แต่ต่อมา จอมพล ป. พิบูลสงครามก็พลิกลิ้นพร้อมที่จะลืมคำมั่นสัญญาที่ให้แก่ญี่ปุ่นหากสถานการณ์เกิดการเปลี่ยนแปลง รัฐบาลไทยของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้เรียกร้องให้ทั้งอังกฤษและสหรัฐอเมริกาให้หลักประกันว่าจะให้ความสนับสนุนไทยเมื่อถูกญี่ปุ่นรุกราน
ในวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1941 การรุกรานของญี่ปุ่นต่อไทยก็ได้เริ่มต้นขึ้นในเวลาเดียวกับที่ญี่ปุ่นบุกมลายา ญี่ปุ่นได้ยกพลขึ้นบกในบริเวณใกล้กรุงเทพ พร้อมกับที่ยกพลขึ้นบกที่สงขลาและประจวบ(นำไปสู่การสู้รบที่ประจวบคีรีขันธ์) ทหารไทยแต่แรกก็ทำการต่อต้านการบุกของญี่ปุ่น แต่อีก 5 ชั่วโมงต่อมาหลังจากได้รับคำขาดจากญี่ปุ่นทางรัฐบาลไทยโดยคณะรัฐมนตรีได้มีคำสั่งให้ทหารไทยยุติการสู้รบ
ได้มีการลงนามในสนธิสัญญาพันธมิตร (A Treaty of alliance) ระหว่างไทยกับญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม ค.ศ. 1941 และเมื่อถึงวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1942 ไทยก็ได้ประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร เมื่อถึงเดือนมีนาคม ค.ศ. 1944 จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ติดต่อกับกองทัพจีนคณะชาติในมณฑลยูนนานเพื่อจะทำการสู้รบกับญี่ปุ่นที่กำลังจะพ่ายแพ้สงคราม
World War II allies
Thailand
The Japanese had won from Phibun a secret verbal promise to support them in an attack on Malaya and Burma . However, the Thai Prime Minister was fickle and he was quite ready to forget this promise if circumstances changed. His government also asked both the British and Americans for guarantees of effective support if Thailand were invaded by Japan .
On 8 December 1941, the Japanese Invasion of Thailand started at the same time as they invaded Malaya . The Japanese landed about 2,000 troops near Bangkok, and also made landings at Songkla and Prachuab (leading to the Battle of Prachuab Khirikhan).[16] Thai troops initially opposed the Japanese invasion, but five hours after it received the Japanese ultimatum, the Thai cabinet ordered Thai troops to stop firing.[16]
A Treaty of alliance was signed between Thailand and Japan on December 21st 1941, and on January 25th 1942 Thailand declared war on the United States and Great Britain[17][18] By March 1944, Phibun was making arrangements with the Chinese Chungking Army in Yunnan to fight against the losing Japanese.[19]
แหล่งข้อมูล :Wikipedia, the free encyclopedia : http://en.wikipedia.org/wiki/Japan%E2%80%93Thailand_relations
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น