วันศุกร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ประชาคมญี่ปุ่นในสยาม

ประชาคมญี่ปุ่นในสยาม

ประชาคมญี่ปุ่นที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่กรุงศรีอยุธยามีจำนวนประมาณ 1,500 คน(บางแหล่งข้อมูลบอกว่ามีมากถึง 7,000 คน ประชาคมของญี่ปุ่นมีชื่อเรียกว่า บ้านญี่ปุ่น และมีหัวหน้าหมู่บ้านเป็นชาวญี่ปุ่นที่ได้รับการแต่งตั้งจากทางการสยาม พวกญี่ปุ่นที่เข้ามาตั้งบ้านเรือนอยูที่กรุงศรีอยุธยาประกอบด้วย พวกพ่อค้า  พวกที่นับถือศาสนาคริสต์ (คริสตัง) ซึ่งหลบหนีจากญี่ปุ่นมาอยู่ตามประเทศต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลังจากถูกกวาดล้างในยุคโตโยโตมิ ฮิเดยูชิ และยุคโตกุกาวา อียาสุ (Toyotomi Hideyoshi and Tokugawa Ieyasu) รวมทั้งพวกอดีตซามูไรที่ไม่มีงานทำซึ่งเลือกข้างฝ่ายที่พ่ายแพ้สงครามเซกิคาฮารา (Sekigahara)


บาทหลวงคริสตังชื่อ Padre Antonio Francisco Cardim ระบุจำนวนของชาวญี่ปุ่นที่ท่านเป็นผู้กระทำพิธีเข้าเป็นชาวคริสตังในกรุงศรีอยุธยาว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 400 คนในปี ค.ศ. 1627 นอกจากนั้นแล้วก็ยังมีประชาคมชาวญี่ปุ่นอยู่ที่อื่น เช่นที่ นครศรีธรรมราชและที่ปัตตานี


นิคมชาวญี่ปุ่นมีคุณค่าทางด้านกิจการทหารเป็นอย่างสูง  และได้ถูกจัดให้อยู่ในหน่วยทหารที่เรียกว่า  กรมอาสาญี่ปุ่น ในกองทัพของพระมหากษัตริย์สยาม


การติดต่อกับประชาคมของชาติอื่นของชาวญี่ปุ่นมักไม่ค่อยจะราบรื่น : เช่นในปี ค.ศ. 1614 คนของบริษัทอิงลิชอีสต์อินเดียคอมพานี (English East India Company) ได้สังหารชาวญี่ปุ่นจำนวน 8 คน ในการต่อสู่กันในกรุงศรีอยุธยา


Japanese community in Siam


The Japanese quarters of Ayutthaya were home to about 1,500 Japanese inhabitants (some estimates run as high as 7,000). The community was called Ban Yipun in Thai, and was headed by a Japanese chief nominated by Thai authorities.[6] It seems to have been a combination of traders, Christian converts ("Kirishitan") who had fled their home country to various Southeast Asian countries following the persecutions of Toyotomi Hideyoshi and Tokugawa Ieyasu, and unemployed former samurai who had been on the losing side at the battle of Sekigahara.[6]


Padre Antonio Francisco Cardim recounted having administered sacrament to around 400 Japanese Christians in 1627 in the Thai capital of Ayuthaya ("a 400 japoes christaos")[6] There were also Japanese communities in Ligor and Patani.[7]


The Japanese colony was highly valued for its military expertise, and was organized under a "Department of Japanese Volunteers" (Krom Asa Yipun) by the Thai king.


Contacts with other communities were not always smooth: in 1614, men of the English East India Company killed eight Japanese in a fight in the city of Ayutthaya.[2]

แหล่งข้อมูล :Wikipedia, the free encyclopedia : http://en.wikipedia.org/wiki/Japan%E2%80%93Thailand_relations

1 ความคิดเห็น: