วันศุกร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ประชาคมญี่ปุ่นยังคงเหลืออยู่ในสยาม

ประชาคมญี่ปุ่นยังคงเหลืออยู่ในสยาม

จะอย่างไรก็ตาม ประชาคมชาวญี่ปุ่นยังคงเหลืออยู่ในสยาม และมีผู้ลี้ภัยจากการเข่นฆ่าชาวคริสต์ในญี่ปุ่นจำนวนมากได้เดินทางมาสยามหลังจากที่ได้มีการประกาศโองการอียาสุเพื่อกำจัดชาวคริสต์ในปี ค.ศ. 1614

นางมาเรีย กุโยมาร์ เดอ ปินฮา (Maria Guyomar de Pinha) ศรีภรรยาของนักผจญภัยชาวกรีกชื่อ คอนสแตนติน ฟอลคอน (Constantine Phaulkon) ซึ่งท่านผู้นี้เป็นหนึงในผู้มีอิทธิพลมากในสยามในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 ก็เป็นลูกครึ่งฝรั่ง-ญี่ปุ่น ในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17  ผู้ที่ให้ความดูแลประชาคมชาวคริสต์ทั้งที่มีเชื้อสายเวียดนามและเชื้อสายญี่ปุ่นในสยาม ได้แก่ พวกหมอสอนศาสนาคาทอลิกชาวฝรั่งเศส


นับตั้งแต่ยุคโทกุคาวา โชกุน  เป็นต้นมา ได้มีการห้ามมิให้ชาวญี่ปุ่นในต่างประเทศเดินทางกลับญี่ปุ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นมาตรการต่อต้านศาสนาคริสต์โดยตรง ทำให้ประชาคมชาวญี่ปุ่นในสยามถูกถูกดูดกลืนเข้าไปคนไทยอย่างช้าๆ



 Remaining Japanese communities in Siam

Japanese communities however remained in Siam, and numerous refugees from the persecutions of Christians in Japan also arrived in the country after the promulgation of Ieyasu's interdiction of Christianity in Japan in 1614.[7] The famous Maria Guyomar de Pinha, wife of the Greek adventurer Constantine Phaulkon, who became one of the most influential men in Siam in the end of the 17th century, was half-Japanese. In the second half of the 17th century, the French catholic missionnaries in Siam cared for Annamite Christians and Japanese Christian communities in Siam.[13]


Since the Tokugawa Shogunate prohibited Japanese people established abroad to return to Japan, essentially as a protective measure against Christianity, the Japanese communities in Siam were gradually absorbed locally.[14]


แหล่งข้อมูล :Wikipedia, the free encyclopedia : http://en.wikipedia.org/wiki/Japan%E2%80%93Thailand_relations


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น