การค้าด้วยเรือตราแดงระหว่างสยาม-ญี่ปุ่น
เรือตราแดง (Red seal ships) ราว 56 ลำได้เดินทางมาสยามระหว่างปี ค.ศ. 1604 ถึง 1635 ราวปี ค.ศ. 1620 การค้าระหว่างสยามกับญี่ปุ่นมีมูลค่ามากกว่าที่สยามทำกับชาติอื่นๆรวมกันทุกชาติเสียอีก
เริ่มมีการก่อตั้งประชาคมญี่ปุ่นขึ้นในสยาม ประชาคมญี่ปุ่นถนัดในการค้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการค้าหนังกวางและไม้กฤษณาโดยนำสินค้าประเภทเครื่องเงินและสินค้าหัตถกรรมของญี่ปุ่น(ดาบ,กล่องลงยา,กระดาษคุณภาพดี)มาแลกเปลี่ยน สินค้าที่ญี่ปุ่นสนใจซื้อจากไทยได้แก่ ไหมจีน หนังกวาง หนังปลากระเบน หนังปลาฉลาม (สินค้าสองอย่างหลังเพื่อใช้เป็นส่วนประกอบของด้ามดาบญี่ปุ่นเป็นต้น)
ชาวญี่ปุ่นถูกระบุจากชาวดัตช์ว่าชอบขัดขวางท้าทายการผูกขาดการค้าของบริษัทดัตช์อีสต์อินเดียคอมพานี (Dutch East India Company =VOC) เพราะเป็นพวกได้รับพระบรมราชูปถัมภ์จากพระมหากษัตริย์สยามให้ซื้อสินค้าได้เกิน 50% ของผลิตผลทั้งหมด ซึ่งก็ทำให้ปริมาณของสินค้าที่จะขายให้แก่พ่อค้าของประเทศอื่นมีเหลืออยู่น้อยเต็มที
พระมหากษัตริย์ของสยามทรงส่งคณะทูตหลายคณะไปยังญี่ปุ่น: ในปี ค.ศ. 1621 คณะทูตนำโดยขุนพิชิตสมบัติ และ ขุนประเสริฐม, ในปี ค.ศ. 1623 คณะทูตนำโดย หลวงทองสมุทร และขุนสวัสดิ์ และในปี ค.ศ. คณะทูตนำโดย ขุนรักษาสิทธิผล พระราชหัตถเลขาของพระเจ้าทรงธรรมได้ทรงยกย่องสัมพันธภาพระหว่างสองประเทศว่าดังนี้:
“ความมีอยู่ของทะเลแยกสยามและไทยทำให้การติดต่อระหว่างสองชาติเป็นไปได้ยาก แต่เรือสินค้าของทั้งสองชาติบัดนี้ได้ไปมาหาสู่กันระหว่างสองชาติ ทำให้ความสัมพันธ์มีความใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น บัดนี้เป็นที่ปรากฏชัดว่า ท่าน(โชกุน) มีความรักอย่างจริงใจต่อพวกเรา ซึ่งเป็นความรักที่มีความเข้มแข็งยิ่งกว่าญาติร่วมสายโลหิตเสียอีก”
ข้างโชกุนก็มีหนังสือกราบบังคมทูลตอบมาว่า:
“ความสัมพันธ์อันแนบแน่นระหว่างสองชาติของเราไม่สามารถถูกทำลายได้ เนื่องจากว่าเราทั้งสองมีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน ความมีอยู่ของทะเลที่มากั้นเราไว้นั้นไม่มีความสำคัญใดๆเลย”
Red seal trade
Around 56 Red seal ships to Siam are recorded between 1604 and 1635.[3] By around 1620, the trade between Siam and Japan was larger than the total trade of Siam with all other nations.[4]
A Japanese colony was established in Siam . The colony was active in trade, particularly in the export of deer-hide and sappan wood to Japan in exchange for Japanese silver and Japanese handicrafts (swords, lacquered boxes, high-quality papers). From Siam , Japan was interested in purchasing Chinese silks, as well as deerskins and ray or shark skins (used to make a sort of shagreen for Japanese sword handles and scabbards).[5]
The Shogun responded in similar terms:
The Japanese were noted by the Dutch for challenging the trade monopoly of the Dutch East India Company (VOC), as their strong position with the King of Siam typically allowed them to buy at least 50% of the total production, leaving small quantities of a lesser quality to other traders.
The king of Siam sent numerous embassies to Japan : in 1621, an embassy led by Khun Pichitsombat and Khun Prasert, in 1623 by Luang Thongsamut and Khun Sawat, and in 1626 by Khun Raksasittiphon.[1] Letters from king Songtham praise the relationship between the two countries:
"The existence of a sea separating Thailand and Japan has made contact between our two nations difficult. However, merchant ships of both nations now ply regularly between our two countries, causing relations to become even closer. It is now apparent that you (the Shogun) have sincere affection for us, an affection even stronger than that of our immediate kin."
—Letter by king Songtham.[1]
"The cordial relations between our two countries cannot be destroyed. Since we both have mutual trust, the existence of a sea between us is not of any significance."
—Letter by the Tokugawa Shogun to king Songtham.[1]
แหล่งข้อมูล :Wikipedia, the free encyclopedia : http://en.wikipedia.org/wiki/Japan%E2%80%93Thailand_relations
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น